T3

การตรวจ T3

  1. การทดสอบ : T3 
  1. Test code : IM032
  1. ค่าตรวจ (ตามสิทธิ์ผู้ป่วย) : 150 หรือ 200 บาท
  1. ข้อบ่งชี้ในการส่งตรวจ :
    4.1 T3 thyrotoxicosis
    4.2 Subclinical hyperthyroidism
    4.3 Severity of thyrotoxicosis และ primary hypothyroidism
    4.4  Sick euthyroid (low T3) syndrome
  1. การเตรียมผู้ป่วย ไม่มี
  1. สิ่งส่งตรวจ ปริมาณและภาชนะที่ใช้เก็บ Clotted Blood (จุกแดง) 4-6 mL
    (ดูคำแนะนำการเก็บสิ่งส่งตรวจ คลิ๊ก)
  1. การส่งสิ่งส่งตรวจและข้อควรระวัง :
    7.1 ควรนำส่งห้องปฏิบัติการภายใน 2 ชั่วโมง หลังจากเก็บสิ่งส่งตรวจ
    7.2 หากไม่สามารถนำส่งได้ ให้แช่ตู้เย็นที่ 2-6 °C
  1. วันและเวลาทำการตรวจทุกวันทำการ เวลา 08.30 น. – 15.30 น.
  1. วิธีวิเคราะห์และหลักการวิเคราะห์ : เครื่อง Cobas e801 หลักการ Electrochemiluminescence immunoassay (ECLIA)
  1. สิ่งรบกวนต่อการวิเคราะห์

    10.1 เลือดที่มีส่วนประกอบต่อไปนี้ไม่รบกวนการทดสอบ

              Bilirubin ≤ 35 mg/dL

              Hemolysis: Hb ≤ 2000 mg/dL

              Lipemia :  IntralipId ≤ 1800 mg/dL hook effect

              Rheumatoid factor ≤ 1500 IU/mL

              Biotin ≤ 30 ng/mL

    10.2 ผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาโดยรับ biotin ในขนาดสูง (>5 mg/day) จะสามารถเจาะเลือด ตรวจได้หลังจากได้รับยาครั้งสุดท้าย ไม่น้อยกว่า 8 ชั่วโมง

  1. การประกันเวลาการทดสอบ :
    11.1 ในเวลาราชการ ด่วน 60 นาที / ไม่ด่วน 90 นาที
    11.2 ส่งนอกเวลาราชการ รายงานผลภายในเวลา 11.00 น. ของวันทำการถัดไป
  1. การรายงานผล : รายงานผลเป็นเชิงปริมาณในหน่วย ng/dL  โดยใช้ค่าอ้างอิง (reference value) 

              ช่วงอายุ

    ค่าอ้างอิง

    หน่วย

    0 – 6 วัน

    73.00-288.00

    ng/dL

    7 วัน – 3 เดือน

    80.00-275.00

    ng/dL

    3 เดือน 1 วัน – 12  เดือน

    86.00-265.00

    ng/dL

    1 ปี 1 วัน – 6  ปี

    92.00-248.00

    ng/dL

    6 ปี 1 วัน – 11 ปี

    93.00-231.00

    ng/dL

    11 ปี 1 วัน – 20 ปี

    91.00-218.00

    ng/dL

    > 20 ปี

    60.70-176.75

    ng/dL

  1. ระยะเวลาที่สามารถขอตรวจเพิ่มได้ : ภายใน 24 ชั่วโมง หลังเก็บตัวอย่าง
  1. การเก็บสิ่งส่งตรวจหลังการตรวจวิเคราะห์ : เก็บที่อุณหภูมิ 2-6 C ระยะเวลา 10 วัน
  1. หมายเหตุ :
    15.1 ขอบเขตการตรวจวิเคราะห์ อยู่ในช่วง 19.52 – 650.99 ng/dL
    15.2 ในการตรวจวิเคราะห์เพื่อนำไปใช้ในการวินิจฉัยโรค การแปลผลการทดสอบต้องประเมินร่วมกับประวัติผู้ป่วย และ
            การตรวจร่างกายเสมอ

กลับไปงานภูมิคุ้มกันวิทยา