TSH

การตรวจ TSH

  1. การทดสอบ : TSH
  1. Test code : IM034
  1. ค่าตรวจ (ตามสิทธิ์ผู้ป่วย) : 170 หรือ 300 บาท
  1. ข้อบ่งชี้ในการส่งตรวจ :
    4.1 เป็น initial testในการช่วยวินิจฉัย หรือตรวจคัดกรอง primary hyperthyroidism  หรือ hypothyroidism
          เนื่องจากสามารถพบการเปลี่ยนแปลงได้ก่อนระดับ free T4  or T3
    4.2 ช่วยวินิจฉัย secondary hyperthyroidism หรือ hypothyroidism
    4.3 monitoring for patient with T4 supplement or suppressive therapy
  1. การเตรียมผู้ป่วยไม่มี
  1. สิ่งส่งตรวจ ปริมาณและภาชนะที่ใช้เก็บ Clotted Blood (จุกแดง) 4-6 mL
    (ดูคำแนะนำการเก็บสิ่งส่งตรวจ คลิ๊ก)
  1. การส่งสิ่งส่งตรวจและข้อควรระวัง :
    7.1 ควรนำส่งห้องปฏิบัติการภายใน 2 ชั่วโมง หลังจากเก็บสิ่งส่งตรวจ
    7.2 หากไม่สามารถนำส่งได้ ให้แช่ตู้เย็นที่ 2-6 °C
  1. วันและเวลาทำการตรวจ ทุกวันทำการ เวลา 08.30 น. – 15.30 น.
  1. วิธีวิเคราะห์และหลักการวิเคราะห์ : เครื่อง Cobas e801 หลักการ Electrochemiluminescence immunoassay (ECLIA)
  1. สิ่งรบกวนต่อการวิเคราะห์

    10.1 เลือดที่มีส่วนประกอบต่อไปนี้ไม่รบกวนการทดสอบ

            Bilirubin ≤ 41 mg/dL

            Icterus :Total bilirubin >60 mg/dL (I index = 60)

            Hemolysis: Hb ≤ 1000 mg/dL

            Lipemia :  IntralipId ≤ 1500 mg/dL hook effect

            Rheumatoid factor ≤ 1500 IU/mL

            Biotin ≤ 1200 ng/mL

            IgG ≤ 2 g/dL and IgM ≤ 0.5 g/dL

    10.2 ผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาโดยรับ biotin ในขนาดสูง (>5 mg/day) จะสามารถเจาะเลือดตรวจได้หลังจากได้รับยาครั้งสุดท้าย ไม่น้อยกว่า 8 ชั่วโมง

    10.3 ไม่พบ hook effect ของ TSH ที่ระดับสูงถึง 1,000 uIU/mL

  1. การประกันเวลาการทดสอบ :
    11.1 ในเวลาราชการ ด่วน 60 นาที / ไม่ด่วน 90 นาที
    11.2 ส่งนอกเวลาราชการ รายงานผลภายในเวลา 11.00 น.ของวันทำการถัดไป
  1. การรายงานผล : 

    รายงานเชิงปริมาณ  หน่วยเป็น µIU/mL

    ช่วงการรายงานผล   0.005-100.0 µIU/mL

  1. ระยะเวลาที่สามารถขอตรวจเพิ่มได้ : ภายใน 4 ชั่วโมง หลังเก็บตัวอย่าง
  1. การเก็บสิ่งส่งตรวจหลังการตรวจวิเคราะห์ : เก็บที่อุณหภูมิ 2-6 C ระยะเวลา 10 วัน
  1. หมายเหตุ :
    15.1 ขอบเขตการตรวจวิเคราะห์ อยู่ในช่วง 0.005 – 100.0 µIU/mL
    15.2 ในการตรวจวิเคราะห์เพื่อนำไปใช้ในการวินิจฉัยโรค การแปลผลการทดสอบ ต้องประเมินร่วมกับประวัติผู้ป่วย และ
             การตรวจร่างกายเสมอ

กลับไปงานภูมิคุ้มกันวิทยา