- การทดสอบ : Cortisol
- Test code : IM072
- ค่าตรวจ (ตามสิทธิ์ผู้ป่วย) : 300 บาท
-
ข้อบ่งชี้ในการส่งตรวจ : เพื่อวินิจฉัยโรค Cushsion’s syndrome, Addison’s disease และตรวจติดตามการทำงานของต่อมหมวกไต (Adrenal Cortex)
- การเตรียมผู้ป่วย :
การเจาะเลือดเพื่อตรวจ Cortisol ผู้ป่วยควรเจาะในช่วงเวลา เพราะค่าอ้างอิงแตกต่างกัน
1) ช่วงเช้าเวลา 6.00 น. -10.00 น.
2) ช่วงกลางวัน 16.00 น. – 20.00 น.
-
สิ่งส่งตรวจ ปริมาณและภาชนะที่ใช้เก็บ : Clotted Blood (จุกแดง) 4-6 mL
-
การส่งสิ่งส่งตรวจและข้อควรระวัง :
7.1 เลือดควรนำส่งห้องปฏิบัติการภายในเวลา 2 ชั่วโมง หลังจากเก็บสิ่งส่งตรวจ
7.2 หากไม่สามารถนำส่งได้ ให้แช่ตู้เย็นที่ 2-6 °C
- วันและเวลาทำการตรวจ : ทุกวัน 08.30 – 15.30 น.
- วิธีวิเคราะห์และหลักการวิเคราะห์ : เครื่องอัตโนมัติ Cobas e801 หลักการ Electrochemiluminescence immuneassay (ECLIA)
-
สิ่งรบกวนต่อการวิเคราะห์ :
ผลการทดสอบจะไม่ถูกรบกวน ถ้าปริมาณของสารในภาวะต่างๆ ไม่เกินค่าที่กำหนด ดังต่อไปนี้
bilirubin ≤ 66 mg/dL
hemolysis Hb ≤ 500 mg/dL
lipemia / Intralipid ≤ 2000 mg/dL
biotin ≤ 60 ng/mL
rheumatoid factor ≤ 1500 IU/mLIgG ≤ 32 g/dL
IgA ≤ 2.8 g/dLIgM ≤ 10 g/dL
ผลการตรวจอาจถูกรบกวนในผู้ที่ได้รับการรักษาด้วย monoclonal mouse antibodies เนื่องจากการทดสอบมี ส่วนประกอบของ monoclonal mouse antibodies
ผลการตรวจอาจถูกรบกวนจากผู้ที่มี high titer of antibodies to analyte-specific antibodies หรือ antibodies ต่อ ruthenium และ streptavidin ที่สูงมากๆ (แต่พบกรณีนี้ได้น้อย)
ค่าอาจสูงกว่าความเป็นจริงในผู้ที่ได้รับยา prednisolone, methylprednisolone or prednisone
การตั้งครรภ์, การคุมกำเนิด และการรักษาโดยใช้ estrogen ทำให้ค่า cortisol ในเลือดสูงขึ้น
-
การประกันเวลาการทดสอบ :
11.1 ด่วน 60 นาที / ไม่ด่วน 90 นาที
-
การรายงานผล :
รายงานเป็นเชิงปริมาณ หน่วย µg/dL โดยใช้ค่าอ้างอิง (reference value) 5th – 95th percentile
-
morning hours 6-10 a.m. 6.02– 18.4 µg/dL
-
afternoon hours 4-8 p.m. 2.68–10.5 µg/dL
ช่วงการรายงาน 0.054 – 63.4 µg/dL
- ระยะเวลาที่สามารถขอตรวจเพิ่มได้ : ภายใน 24 ชั่วโมง หลังเก็บตัวอย่าง
- การเก็บสิ่งส่งตรวจหลังการตรวจวิเคราะห์ : เก็บที่อุณหภูมิ 2-6 ๐C ระยะเวลา 10 วัน
- หมายเหตุ : ขอให้เก็บสิ่งส่งตรวจตามเวลาที่กำหนดทุกครั้ง เพื่อนำไปใช้ประกอบการวินิจฉัยโรค การแปลผลผลการทดสอบต้องประเมินร่วมกับประวัติผู้ป่วย และการตรวจร่างกายเสมอ
กลับไปงานภูมิคุ้มกันวิทยา